Solar Cells Lecture 1: Introduction to Photovoltaics

This introduction to solar cells covers the basics of PN junctions, optical absorption, and IV characteristics. Performance metrics such as efficiency, short-circuit current, fill factor, and open-circuit voltage are discussed. Key technology options and economic considers are briefly introduced.

on nanHUB: http://nanohub.org/resources/11875
Video Rating: / 5

solar cells ไม่ถึง 600w และการใช้งานกับอุปกรณ์มากกว่า 1400w

solar cellsกับการใช้งาน แม้วัตต์ไม่ถึงแต่แรงดัน(โวลท์)ถึง ก็สามารถปรับเฮิร์ซที่อินเวอร์เตอร์ ใช้งานเกินกำลังวัตต์ที่คำนวณไว้ได้ รายละเอียดดังในคลิปที่ช่างไก่ได้อธิบายไว้

40 thoughts on “Solar Cells Lecture 1: Introduction to Photovoltaics”

  1. Hi, when I use log plot for current, I am not able to make log for all the values, as few values are in negative. How the plot is obtained?

    Reply
  2. I used to work as a research physicist in electro/optics, developed photocells and also solar cells in 1974, after the oil crisis. My solar cell had already an efficiency of 27 %! The good professor should explain what "p" and "n" junction stands for! "p" means positive and "n" means negative.You give a semiconductor negative or positive doping. There are other semiconductor than silicon. I used CdS, Cadmiumsulfide, very cheap. I also worked with prof. Karl Boer, professor at Delaware University. He build the first solar house in the USA!

    Reply
  3. As by request of local students I am teaching a course in the Physics of solar cells, being no expert in this field, these set of lectures have been really enlightening both for me and my students.

    Reply
  4. Thank you for this clear and simple explaination of theis basic semiconductor theory. I learned it the Trade School way which is a but more qualitative. This is a more sophisticated description.

    Reply
  5. I am working on simulation of solar cell at national physics laboratory delhi . And this lectr realy help me a lot . Thanks for making this kind of lectures available.

    Reply
  6. 3 months ago i was searching for renewable energy and then i came across a website with an ebook to make solar panel myself under $200 which cost usually $2k over and now i have my own solar panel that i created myself.Go get this ebook and make your own solar panel.FREEENERGYGENERATION.PIXUB.COM

    Reply
  7. These are helpful but I think there are some mistakes in this presentation. I think these should be improved. Please tell me where I can submit these mistakes.

    Reply
  8. โซล่าเซล มันเป็นแหล่งจ่ายพลังงานกระแสตรง จ่ายให้โหลดได้สารพัด ถ้ามันรองรับแรงดันไกล้เคียงกัน ที่หัวแร้งใช้งานได้ เพราะหัวแร้งแบบที่เค้าถือมันเป็นโหลดแบบรีซีสทีพ ถ้าเป็นโหลดแบบอินดักทีพพวกมอเตอร์ ก้ได้เฉพาะพวกมอเตอร์กระแสตรง สังเกตุคือจะมีแปลงถ่าน มอเตอร์ที่ไม่มีแปลงถ่านมันจะเป็นเอซีมันใช้ไม่ได้อยู่แล้ว หรือหัวแร้งแบบปืนก็ใช้ไม่ได้เพราะมันเป็นแรงดันไฟเอซี

    Reply
  9. คำว่าปรับเฮิร์ซมันมาจากนี่ครับ  N = 120f / p
    N = ความเร็วรอบมอเต้อร์
    120 = ค่าคงที่
    f = ความถี่ มีหน่วยเป็นเฮิร์ซ ที่บอกว่าปรับเฮิร์ซ คือปรับตัวนี้แหละครับ
    p = ขั้วแม่เหล็กของมอเต้อร์  ปกติจะมี 2 ขั้ว 4 ขั้ว 8 ขั้ว แล้วแต่ครับ เราสามารถดูได้ที่เนมเพลทของมอเต้อร์ครับ

    Reply
  10. ใช้กับมอเตอร์อาไรครับ dcหรื่อ ac กี่เฟตครับ

    Reply
  11. จากที่ดูคลิป จาร หลายๆคลิป ทำให้ผมมีไอเดีย โซล่า1แผง+มอเตอร์+ไดนาโม +เครื่องกล ต้องการไฟซัก10-20k น่าจะประหยัดงบ โซล่าสำหรับไฟ10kได้มากโขเลยครับ ขอบคุณจารไก่ ครับ

    Reply
  12. แรงดัน 300 V ที่จ่ายเกิน มันจะมีผลเสียอะไรกับตัว Inverter ไหมครับ

    Reply
  13. ประกาศ! ขอแจ้งยกเลิกเบอร์ของผมที่แปะไว้ในทุกคลิปของผม เป็น 0815504599 พร้อมไลน์ ส่วนเบอร์ช่างไก่ยังคงเหมือนเดิมคือ 0989521194

    Reply
  14. นี่เป็นคอมเม้นแรกครับแต่ติดตามทุกคลิปของหมอ"ขอบคุณ"ทุกความรู้ใหม่ๆครับอ.ไก่ ผมตั้งสโลแกนให้อ.ไก่เลย"ง่ายทุกอย่าง"หากเข้าใจในหลักการไม่มีคำว่าทำไม่ได้ เปนกำลังใจ.ไก่นะขอรับ

    Reply
  15. ตกลงจะตอบผมมั้ยเนี่ยว่าไดโอดใช้ค่าเท่าไหร่เพ่ งง

    Reply
  16. แสงวิ่งเร็วขนาดไหน ลองป่ันจักรยาน ิรอบสนาม 22 ปี จึงจะทันความเร็วของแสง หนึ่งวินาที

    Reply
  17. อีเล็กตรอนคืออะไร เวลาเราเสียบปลั้กไป จะเห็นประกายออกมา นั่นละคืออีเล็กตรอน

    Reply
  18. โลหะ เมื่อถูกความร้อนจะขยายตัว อีเล็กตรอนจะเริ่มวิ่งถูกต้องไหม

    Reply
  19. สามเฟส มีอะไรบ้าง เช่น โปรตอน อีเลกตรอน และนิวตรอน ถูกต้องไหม

    Reply

Leave a Reply to amit bhatia Cancel reply

12 − two =